วันเสาร์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2552

การฝึกโยคะเบื้องต้น

การเตรียมตัวฝึกโยคะ



สภาพแวดล้อม
ห้องที่เหมาะสมในการฝึกโยคะนั้นควรจะเป็นห้องที่มีแสงสว่างและมีลม บรรยากาศสดชื่น ไม่มีฝุ่นละออง ควรจะมีเฟอร์นิเจอร์น้อยชิ้นที่สุด พื้นควรจะเรียบและสม่ำเสมอ
ควรทำพื้นที่ผนังส่วนหนึ่งให้เรียบเพราะมีบางท่าที่ต้องใช้ผนังสำหรับช่วยค้ำจุนท่าฝึกไว้ ห้องนั้นไม่ควร ร้อนหรือเย็นเกินไป ถ้ามีพัดลมหรือเครื่องทำความร้อน ให้วางของสิ่งนั้นให้อยู่ไกลๆที่ฝึก
ห้องฝึกโยคะที่ดีควรจะเงียบสงบ ถ้าเป็นไปได้อย่าให้ถูกรบกวนในระหว่างการฝึกโยคะ และควรยกหู ูโทรศัพท์ออกเสีย เพื่อเป็นการเพิ่มบรรยากาศก็สามารถจุดเทียนเล่มหนึ่งด้วนก็ได้




อุปกรณ์ในการฝึก
1. เสื่อบางๆ
2. ผ้าห่ม
3. ผ้าขนหนู
4. เข็มขัด
5. เชือก

ก่อนฝึกโยคะ
เสื้อผ้า ควรเป็นชุดเบาๆ ใส่แล้วสะดวก คล่องตัว ไม่ควรใส่เสื่อที่หลวม ควรใส่ถุงเท้า
การกิน ไม่ควรฝึกโยคะขณะที่เพิ่งกินอิ่แต่ถ้าจำเป็นควรกินอาหารที่ย่อยง่ายๆ
การดื่ม อย่าดื่มของเหลวมากเกินไปก่อนฝึก
การอาบน้ำ ควรอาบน้ำก่อนฝึกโยคะ เพราะเป็นการเตรียมกล้ามเนื้อให้พร้อม

อุปกรณ์ในการฝึก
1. เสื่อบางๆ
2. ผ้าห่ม
3. ผ้าขนหนู
4. เข็มขัด
5. เชือก

ก่อนฝึกโยคะ
เสื้อผ้า ควรเป็นชุดเบาๆ ใส่แล้วสะดวก คล่องตัว ไม่ควรใส่เสื่อที่หลวม ควรใส่ถุงเท้า
การกิน ไม่ควรฝึกโยคะขณะที่เพิ่งกินอิ่แต่ถ้าจำเป็นควรกินอาหารที่ย่อยง่ายๆ
การดื่ม อย่าดื่มของเหลวมากเกินไปก่อนฝึก
การอาบน้ำ ควรอาบน้ำก่อนฝึกโยคะ เพราะเป็นการเตรียมกล้ามเนื้อให้พร้อม


การฝึกโยคะในท่า ต่าง ๆ


ท่าของการฝึกโยคะเป็นการยืดเหยียดกล้ามเนื้อตามแบบของโยคะและมีการสอดคล้องกับการหายใจเป็นการรวมกายและจิตร่วมกัน การฝึกท่าโยคะจะเป็นการฝึกประสาท ความยืดหยุ่น ความแข็งแรง การทรงตัว ลดความอ่อนล้าของกล้ามเนื้อ สุขภาพจิตและสุขภาพกายดีขึ้น ท่าที่ใช้สำหรับการฝึกโยคะมีมากมาย แต่จะแบ่งท่าการฝึกดังนี้ ท่าที่เป็นหลักในการฝึกโยคะมีดังนี้



  1. Corpse Pose (shava-?sana)—

  2. Forward Bend (pashc?mott?na-?sana)

  3. Back Bend or Cobra (bhujanga-?sana)

  4. Sitting Twist (m?tsyendra-?sana)

  5. Mountain Pose (p?rvata-?sana)—for cultivating stability

  6. Tree Pose (vriksha-?sana)—an excellent exercise for improving your sense of balance

  7. Standing Forward Bend (p?da-hasta-?sana)

  8. Standing Side Bend or Triangle (trikona-?sana)

  9. Warrior’s Pose (v?ra-bhadra-?sana)

  10. Shoulder stand (sarv?nga-?sana)

  11. Plough (hala-?sana)

  12. Adept’s Pose (siddha-?sana)—a favorite posture for meditation

-------------------------------------------------------------------------------------------------


ท่ายืน






คนส่วนใหญ่ไม่ได้ให้ความสนใจเกี่ยวกับการยืน บางคนลงน้ำหนักส่วนใดส่วนหนึ่งของเท้า แอ่นพุ่งไปข้างหน้า หลังโก่งทำให้เสียทรวดทรง การฝึกโยคะในท่ายืนจะช่วยลดอาการปวดหลังและทำให้ทรวดทรงดีขึ้น



ท่ากลับศีรษะลง เท้าชี้ขึ้น



การฝึกท่านี้จะทำให้เลือดไปเลี้ยงศีรษะเพิ่มขึ้น แต่ก็ต้องระวังในคนที่อ้วน ไม่เคยออกกำลังกายมาก่อน การฝึกท่าเหล่านี้อาจจะทำให้เกิดอุบัติเหตุได้ ผู้ที่มีความดันสูงหรือต่ำ ผู้ที่เป็นต้อกระจกไม่ควรฝึกท่าเหล่านี้




ท่านั่ง




การฝึกท่านั่งมีด้วยกันหลายท่า มีตั้งแต่ง่ายจนยาก ท่านไม่จำเป็นต้องทำทุกท่า ควรจะเลือกท่าที่เหมาะสมกับตัวเอง









ท่านอนหงาย





ท่านอนหงายเป็นท่าทำได้ไม่ยาก การฝึกจะทำให้ได้ผลดีต่อร่างกาย กระตุ้นอวัยวะในช่องท้อง ลดอาการปวดประจำเดือน ลดอาการปวดหลัง





ท่านอนคว่ำ




ท่านอนคว่ำมีวิธีเริ่มต้นอาจจะแตกต่างกัน บางท่าเริ่มจากนอนคว่ำ บางท่าเริ่มจากการคลาน แต่โดยรวมลำตัวต้องอยู่ในท่าคว่ำ คออาจจะเงย ก้มลงหรือขนานกับพื้น จะมีประโยชน์ในการทำให้กล้ามเนื้อหลังแข็งแรง


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น